สมาคมบริบาลผู้ป่วยระยะท้ายได้ร่วมกับกรมการแพทย์และภาคีเครือข่ายจัดการอบรม
2nd National Palliative and Hospice Care Conference (NPHC 2016)
Theme “Hospice-Palliative Care: New Paradigm to Integral health service”
การดูแลแบบประคับประคอง: กระบวนทัศน์ใหม่บูรณาการสาธารณสุขไทยไร้รอยต่อ
วันที่ 24-26 กุมภาพันธ์ 2559
ณ.ศูนย์ประชุมวายุภักษ์ ชั้น 4 โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ
จัดโดย : กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
ร่วมกับ : สภาการพยาบาล สำนักการพยาบาล สมาคมบริบาลผู้ป่วยระยะท้าย สมาคมพยาบาลโรคมะเร็งแห่งประเทศไทย และชมรมพยาบาลแบบประคับประคอง สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.)
ภาคีร่วมจัด: สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์กรมหาชน) เครือข่ายมิตรภาพบาบัด เครือข่ายสมัชชาสุขภาพ
การประชุมเชิงปฏิบัติการของสมาคมบริบาลผู้ป่วยระยะท้าย
**ผู้เข้าประชุมที่ไม่เป็นสมาชิกสมาคมบริบาลผู้ป่วยระยะท้ายต้องเสียค่าลงทะเบียน 1,000 บาท และได้สิทธิ์สมัครเป็นสมาชิกสมาคมฯ โดยไม่ต้องเสียค่าลงทะเบียน สมาชิกสมาคมเสียค่าลงทะเบียน 700 บาท การลงทะเบียนสามารถเลือกเข้าได้ 2 workshop
** ผู้เข้า workshop ต้องลงทะเบียนในการประชุมใหญ่ด้วย**
วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2559
Work shop THAPS 1 – Quality assessment in PC
เวลา 13.00-16.00 น. ห้องประชุม 401
เนื้อหา: การประเมินคุณภาพงาน palliative care ในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายของหน่วยงาน สถานพยาบาลและระดับประเทศ
กิจกรรม: การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในกลุ่มย่อยเกี่ยวกับกรณีศึกษาต่างๆ การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกับวิทยากรในกลุ่มใหญ่
ผู้เข้าร่วม: ผู้ที่ปฏิบัติงานและมีประสบการณ์ palliative care อยู่แล้ว ผู้ที่รับผิดชอบการประเมินคุณภาพงาน palliative care ของหน่วยงานและสถานพยาบาล
วิทยากร: 1. Dr. Ednin Hamzah, CEO, Hospice Malaysia 2. ศ. สมจิต หนุเจริญกุล สภาพยาบาล 3. นพ.ดร.สกล สิงหะ หน่วยชีวันตาภิบาล โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 4. ผศ.พญ.ยุวเรศมคฐ์ สิทธิชาญบัญชา โรงพยาบาลรามาธิบดี
ผู้ดำเนินรายการ: รศ.นพ.เต็มศักดิ์ พึ่งรัศมี สมาคมบริบาลผู้ป่วยระยะท้าย
Work shop THAPS 2 – Drug use at home at EOL
เวลา 13.00-16.00 น.ห้องประชุม 406
เนื้อหา: การใช้ยาจัดการอาการอย่างมีประสิทธิภาพในระยะสุดท้ายที่บ้าน
กิจกรรม: แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์และปัญหาการใช้ยาที่บ้านในผู้ป่วยระยะท้ายในกลุ่มและกับวิทยากร และฝึกปฏิบัติการใช้ยาโดยการให้ยาใต้ผิวหนังโดยใช้ syringe driver การบริหารยาโดยวิถีทางอื่นเมื่อผู้ป่วยอยู่ในระยะที่ไม่สามารถกลืนยาได้
ผู้เข้าร่วม: แพทย์ พยาบาลที่ทางานด้าน palliative care และทีมเยี่ยมบ้าน
วิทยากร: 1. พว.ปาริชาติ เพียสุพรรณ ศูนย์การุณรักษ์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ 2. พว.ณัฐชญา บัวละคร ศูนย์การุณรักษ์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ 3. พว.แพงพรรณ สีบุญลือ ศูนย์การุณรักษ์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
วิทยากรและผู้ดำเนินรายการ: พว.สุธีรา พิมพิ์รส ศูนย์การุณรักษ์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2559
Work shop THAPS 3 – Home palliative care for children
เวลา 13.00-16.00 น. ห้องประชุม 401
วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้มีความรู้ความเข้าใจ ในประเด็นต่อไปนี้ 1. ค้นหาความต้องการของเด็กและครอบครัว ในการดูแลที่บ้าน 2. จัดการบริการตามความต้องการ เพื่อให้เด็กสามารถได้อยู่บ้าน และผู้ปกครองมีความมั่นใจในการดูแลลูกที่บ้าน 3. การให้การดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
กิจกรรม: แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับวิทยากร
ผู้เข้าร่วม: ทีมสุขภาพที่ให้การดูแลผู้ป่วยเด็กระยะท้าย
วิทยากร: 1. พญ. ขวัญนุช ศรีกาลา โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ 2. พ.ว. เติมสุข รักษ์ศรีทอง โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ 3. พ.ว. ขจีพรรณ แก้วปานันท์ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
วิทยากรและผู้ดำเนินรายการ: ศ.นพ.อิสรางค์ นุชประยูร ศูนย์กุมารชีวาภิบาล โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
Work shop THAPS 4 – Community participation in PC
เวลา 13.00-16.00 น. ห้องประชุม 406 เนื้อหา: การดูแลในชุมชนเป็นหัวใจสำคัญของระบบบริการ palliative care ประเทศไทยเรามีระบบบริการ
สุขภาพระดับปฐมภูมิที่เข้มแข็ง เราจะทำให้เกิดบริการนี้ในชุมชนโดยชุมชนมีส่วนร่วมได้อย่างไร
กิจกรรม: เรียนรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย
ผู้เข้าร่วม: ทีมสุขภาพในชุมชนที่รับผิดชอบการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย จิตอาสาที่มีความสนใจ
วิทยากร: 1. Dr.Suresh Kumar, Director, IPM, Calicut. 2. รศ.นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน 3. นพ.สิริชัย นามทรรศนีย์ รพ.สมเด็จพระยุพราชกุฉินารายณ์ 4. นางสาววรรณา จารุสมบูรณ์ เครือข่ายพุทธิกา
วิทยากรและผู้ดำเนินรายการ: รศ.พญ.ศรีเวียง ไพโรจน์กุล, ศูนย์การุณรักษ์
ขอเชิญชวนเข้าฟังหัวข้อที่น่าสนใจที่สมาคมบริบาลผู้ป่วยระยะท้ายรับผิดชอบ
24 กุมภาพันธ์ 2559 Palliative care: why community participation is important?
เวลา 13.000-14.30น. ห้องแกรนด์บอลรูม 1
วิทยากร: 1. Dr. Suresh Kumar, Director, WHO collaboration center for long-term care and community participation in Palliative care. 2. นพ.สิริชัย นามทรรศนีย์ รพ.สมเด็จพระยุพราชกุฉินารายณ์
วิทยากรและผู้ดำเนินรายการ: รศ.พญ.ศรีเวียง ไพโรจน์กุล, ศูนย์การุณรักษ์
เนิ้อหา: การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายควรเป็นการดูแลที่บ้าน เพราะบ้านเป็นสถานที่ที่คุ้นเคย และการดูแลด้านจิตสังคมและจิตวิญญาณครอบครัวและชุมชนสามารถให้การดูแลได้ดีกว่าทีมสุขภาพ Dr. Suresh Kumar นาเสนอรูปแบบที่มีชื่อเสียงของการมีส่วนร่วมของชุมชนในรัฐ Kelara, India และรับฟังประสบการณ์การมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายในชุมชนต้นแบบในประเทศไทย
25 กุมภาพันธ์
2559 Opioid usage in palliative care
เวลา 8.45-9.30น. ห้อง 401 วิทยากร: รศ.พญ.ลักษมี ชาญเวชช์ โรงพยาบาลวัฒโนสถ
เนื้อหา: การจัดการอาการเป็นหัวใจที่มีความสำคัญในผู้ป่วยระยะท้าย เรียนรู้การใช้ opioids ในการจัดการอาการอย่างมีประสิทธิภาพ
Community palliative care
เวลา 9.30-10.15น. ห้อง 401
วิทยากร: Dr. Ednin Hamzah, CEO, Hospice Malaysia
เนื้อหา: เรียนรู้การให้บริการ palliative care ในชุมชนจาก Hospice Malaysia ซึ่งเป็นองค์กรที่ให้การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้านทั้งหมดใน Kuala Lumpur อย่างเบ็ดเสร็จ
Pediatric palliative care network
เวลา 10.30-12.00น. ห้อง 401
วิทยากร: 1. นพ.อิสรางค์ นุชประยูร ศูนย์กุมารชีวาภิบาล โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ 2. รศ.พญ.พรพรรณ ศรีพรสวรรค์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวืทยาลัยสงขลานครินทร์ 3. พญ.อัจจิมา อิสสระ โรงพยาบาลสระบุรี
เนื้อหา: เด็กเป็นกลุ่มผู้ป่วยที่มักเข้าไม่ถึงการดูแลแบบ palliative care วิทยากรจะมาแบ่งปันการจัดระบบบริการดูแลในระยะท้านในเด็ก ที่ต้องเป็นการดูแลต่อเนื่องโดยอาศัยเครือข่าย
วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2559
Opioid availability เวลา 8.45-10.15น. ห้อง 401
วิทยากร: 1. Asso Prof. James Cleary, Director WHO collaboration center for pain policy and palliative care 2. ผู้แทนกลุ่มเงินทุนหมุนเวียนยาเสพติด (อย) 3. ผู้แทนสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ผู้ดำเนินรายการ: รศ.พญ.ศรีเวียง ไพโรจน์กุล นายกสมาคมบริบาลผู้ป่วยระยะท้าย
เนื้อหา: Opioids เป็นยาที่มีความสำคัญในการจัดการอาการในผู้ป่วยระยะท้าย แต่อุปสรรค์ของการเข้าถึงยาทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถได้รับการจัดการอาการที่ดี สร้างความทุกข์ทรมาน เรียนรู้การจัดการกับอุปสรรค์เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงยาได้โดยองค์ที่มีบทบาทในการกำหนดนโยบายและบริหารจัดการระบบยา opioids